มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๔ )
สำหรับตอนนี้ มีเรื่องในอดีตชาติของท่านอุรุเวลกัสสปะมาเล่าต่อจากครั้งที่แล้ว ที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ไม่ใช่เฉพาะในภพชาตินี้เท่านั้น ที่พระองค์ทำลายความเห็นผิดของท่านอุรุเวลกัสสปะ
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - พระปัญญาบริสุทธิ์
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบัณฑิต ผู้รู้ ผู้มีปัญญา ต้องดำรงตนเป็นทูตสันติภาพได้ด้วย นอกจากจะมีปฏิภาณที่ยอดเยี่ยมแล้ว ต้องไม่มีอคติความลำเอียง และต้องรู้จักแสวงจุดร่วมสมานจุดต่าง คอยประสานรอยร้าวเหมือนเป็นกาวใจ
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๔)
มนุษย์ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ จากตำรับตำราบ้าง จากประสบการณ์ของคนรุ่นก่อน ผนวกกับประสบการณ์ของตัวเองบ้าง
แนวคิดการบำเพ็ญบารมี_2
พระตถาคตเจ้าทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นมาก็ เพื่อประโยชน์สุขแก่คนหมู่มาก ทรงบำเพ็ญประโยชน์ทั้งแก่สตรี และบุรุษ ผู้ทำตามคำสอนของพระองค์
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๓ )
"ระหว่างพระพุทธเจ้ากับท่านอุรุเวลกัสสปะ ใครหนอจะมีอานุภาพมากกว่ากัน" พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงล่วงรู้ความคิดของชาวเมือง จึงตรัสถามท่านว่า "ดูก่อนกัสสปะ ท่านเคยเป็นอาจารย์สั่งสอน หมู่ชฎิลผู้ผ่ายผอมเพราะกำลังประพฤติพรต ท่านเห็นอะไรจึงได้ ละไฟที่เคยบูชาเสียเล่า ท่านเห็นประโยชน์อะไรจึงมาประพฤติพรหมจรรย์กับเรา"
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๕ )
พระพี่เลี้ยงได้ยินข่าวลือว่า "พระราชาทรงฟังถ้อยคำของอาชีวกผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิ จึงรับสั่งให้รื้อโรงทานที่ประตูเมืองทั้งสี่ บัดนี้ทรงมัวเมาแต่เบญจกามคุณ มิได้สนพระทัยในพระราชกรณียกิจเลย"
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๖ )
พระราชาสดับเช่นนั้น ทรงปฏิเสธทันทีว่า "ลูก เอาทรัพย์ไปใช้เช่นนี้ไม่เกิดประโยชน์เลย เลิกให้ทานเถิดลูก ลูกควรจะนำทรัพย์ที่พ่อจะให้นี้ ไปใช้จ่ายเที่ยวเล่นสนุกสนานให้เต็มที่ ไม่ต้องไปคิดถึงใคร และภพชาติต่อไปก็อย่าไปกังวล ลูกจงเก็บเกี่ยวความสุขในชาตินี้ให้เต็มที่เถิด"
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 167
การก่อสร้างนครแห่งนี้ ได้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ๔เดือนเต็ม โดยมีปราการกำแพงล้อมรอบสูงถึง ๑๘ศอก โรงพักพลมีป้อมประตูเรียงรายเป็นระยะสลับด้วยซุ้มประตูเมืองที่มั่นคง ภายในกำแพงเมืองมีโรงช้างโรงม้าและราชพาหนะทั้งหลาย มีสระโบกขรณีโอบล้อมบริเวณพระราชนิเวศน์ มองไกลๆเหมือนที่ประทับนั้นลอยโดดเด่นอยู่เหนือผืนน้ำ
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฎฐิ (๙)
พระเจ้าอังคติราชสดับเช่นนั้นแล้ว เกิดความสลดสังเวช กลัวที่จะต้องไปบังเกิดในมหานรก จึงตรัสว่า "บัด นี้ ข้าพเจ้าแทบจะล้มเหมือนต้นไม้ที่ถูกตัด ข้าพเจ้าหลงผิดจึงไม่รู้จักทิศ ท่านฤๅษี ขอท่านจงเป็นที่พึ่งของข้าพเจ้า เสมือนกับน้ำดื่มแก้กระหายในเวลากระหายน้ำ ขอท่านจงเป็นเหมือนเกาะเป็นที่อาศัยในห้วงมหาสมุทร และขอท่านจงเป็นเหมือนประทีปส่องสว่างในที่มืดของข้าพเจ้าด้วยเถิด
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๓)
ในระหว่างทางอาจมีปัญหาและอุปสรรคต่างๆ เกิดขึ้นบ้าง แต่สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงเครื่องพิสูจน์กำลังใจของเราเท่านั้น บางปัญหาเราแก้ไขได้